นับจากเมื่อคราว สถาปนาอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 1893 กำแพงเม translation - นับจากเมื่อคราว สถาปนาอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 1893 กำแพงเม English how to say

นับจากเมื่อคราว สถาปนาอยุธยาขึ้นเป็

นับจากเมื่อคราว สถาปนาอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 1893 กำแพงเมืองและป้อมต่างๆ ถูกสร้างขึ้นมาเป็นปราการป้องกันข้าศึกจำนวนมากรอบเกาะกรุงศรีอยุธยา ในคราวแรกเริ่มสร้างป้อม ล้วนใช้ไม้เป็นสิ่งก่อสร้าง ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้มีการขยายขอบเขตราชสีมาไปถึงตลิ่งแม่น้ำ จึงได้มีการสร้างกำแพงด้วยอิฐและศิลาแลงขึ้น
บรรดา 29 ป้อมที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา "ป้อมเพชร" นับเป็นป้อมที่มีความสำคัญมากที่สุดในเชิงยุทธศาสตร์ ด้วยเป็นด่านปราการป้องกันศัตรูผู้รุกรานได้ดี อยู่ตรงมุมพระนครด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ภายในเกาะเมือง บริเวณแม่น้ำบางกะจะ ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาไหลมาบรรจบกับแม่น้ำป่าสักพอดี ทำให้เกิดเป็นลานน้ำวนขนาดใหญ่
จุดนี้ใช้เป็นที่จอดเรือสำเภาและเรือสินค้าของชาวต่างชาติ จึงเป็นตลาดใหญ่ที่ชาวบ้านสมัยก่อนนิยมเรียกกันว่า ตลาดน้ำวนบางกะ ดังปรากฏชื่อตำบลทางฝั่งตรงข้ามว่า "ตำบลสำเภาล่ม" เป็นนัยถึงวังน้ำวนด้านหน้าป้อมเพชรนั่นเอง

ป้อมเพชร เป็นป้อมใหญ่ก่อด้วยอิฐสลับกับศิลาแลง หนา 14 เมตร ลักษณะรูปทรงป้อมแบบหกเหลี่ยมยื่นออกไปจากแนวกำแพงเมือง มีช่องคูหา(เชิงเทิน) ก่อเป็นรูปโค้งครึ่งวงกลม ซึ่งเป็นที่ตั้งของปืนใหญ่ประจำป้อม จากบันทึกประวัติของชาวต่างชาติที่ไปเยือนกรุงศรีอยุธยา ณ เวลานั้น กล่าวไว้ว่ามีปืนใหญ่กว่า 800 กระบอกตั้งเรียงรายอยู่บนกำแพงเมือง เพื่อป้องกันข้าศึกที่จะมาทางน้ำ และเป็นท่าเรือสินค้าที่สำคัญในอดีต รวมทั้งเป็นย่านที่พักอาศัยของพ่อค้าชาวจีน ฮอลันดาและฝรั่งเศส นอกจากนี้ ยังแฝงไว้ซึ่งวิถีชีวิตของชาวกรุงศรีอยุธยา เนื่องจากพบร่องรอยการอยู่อาศัยมาตั้งแต่อยุธยาตอนต้น

แม้อาณาจักรอยุธยา ราชธานีสยามที่ยาวนานเกือบสี่ศตวรรษ จะล่มสลายลง นับแต่คราวต้องเสียกรุงฯครั้งที่ 2 ให้แก่พม่า ตั้งแต่เมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ แต่ ป้อมเพชร ก็ยังทำหน้าที่เป็นด่านปราการสำคัญของเมืองพระนครอยู่ เมื่อก้าวเข้าสู่กรุงรัตนโกสินทร์ และในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุล "ณ ป้อมเพชร์" ให้แก่ "พระสมุทบุรานุรักษ์ (ขำ)" ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวรุณฤทธีศรีสมุทปราการ พระยาเพชร์ชฎา และ "พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)" ขณะประทับแรมที่อ่างศิลา พ.ศ. 2456 ด้วยบรรพบุรุษของพระสมุทฯ มีถิ่นฐานอยู่บริเวณป้อมเพชรดังกล่าว จึงนับเป็นต้นสกุลดังของบุคคลที่มีชื่อเสียงต่างๆ ในปัจจุบันที่เรารู้จักกันดี ไม่ว่าจะเป็น คุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร(อดีตภริยา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ท.พญ.พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ ภริยา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (หลานยายของนางอัมพา สุวรรณศร บุตรีพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)) และดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต เป็นต้น
ปัจจุบัน ป้อมเพชร ได้รับการบูรณะจากกรมศิลปากร และยังคงสภาพสมบูรณ์อยู่เป็นส่วนใหญ่ หากยืนอยู่ที่ป้อมเพชรแล้วมองไปที่ฝั่งตรงข้าม ทางด้านซ้ายมือคือ วัดพนัญเชิงฯ ทางด้านซ้ายมือคือ วัดใหม่บางกะจะ ตั้งอยู่ใกล้กับ วัดสุวรรณดาราราม เป็น ป้อมปราการป้อมเดียวที่ยังเหลืออยู่จาก 16 ป้อม ตามแนวกรุงเก่า ในครั้งรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ในโปรแกรมทัวร์ "บุกอยุธยา ค้นหาพระนเรศวร" รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-พม่า จะเป็นผู้นำทางเราอนุชนรุ่นหลัง เปิดประตูแห่งเวลาเดินทะลุข้ามมิติ สู่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา อันรุ่งเรืองในอดีตเมื่อหลายร้อยปีก่อน ผ่านป้อมเพชร ณ แห่งนี้ ฟังเรื่องเล่าที่ไม่เคยได้ยินจากที่ไหน รวมถึงยุทธศาสตร์ แผนการรบ และการป้องกันเมืองที่สำคัญ จากพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในการที่ทรงเลือกใช้ ป้อมเพชร ซึ่งถือเป็น 1 ใน 3 ป้อมสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่ตรงลำแม่น้ำ ในการรักษาพระนครทางด้านทิศใต้ นอกเหนือจากป้อมกบและป้อมมหาชัย เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึกอย่างพม่า อย่างเจาะลึกโดยละเอียด และยังได้ใกล้ชิดตัวเป็นๆ กับกูรูเรื่องไทย-พม่า และบุกไปตามสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับพระนเรศทั้งสิ้น
0/5000
From: -
To: -
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
Since when is the capital of Ayutthaya province in 1623. In 1893 the Fort and the city wall was built as a fortress against the enemy number come to Ayutthaya island. For the first time began to build Fort plain wood is its construction. Later, in the reign of his Majesty, the Emperor had to expand the scope of products to reach the river has created a wall with bricks and laterite. บรรดา 29 ป้อมที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา "ป้อมเพชร" นับเป็นป้อมที่มีความสำคัญมากที่สุดในเชิงยุทธศาสตร์ ด้วยเป็นด่านปราการป้องกันศัตรูผู้รุกรานได้ดี อยู่ตรงมุมพระนครด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ภายในเกาะเมือง บริเวณแม่น้ำบางกะจะ ซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาไหลมาบรรจบกับแม่น้ำป่าสักพอดี ทำให้เกิดเป็นลานน้ำวนขนาดใหญ่ จุดนี้ใช้เป็นที่จอดเรือสำเภาและเรือสินค้าของชาวต่างชาติ จึงเป็นตลาดใหญ่ที่ชาวบ้านสมัยก่อนนิยมเรียกกันว่า ตลาดน้ำวนบางกะ ดังปรากฏชื่อตำบลทางฝั่งตรงข้ามว่า "ตำบลสำเภาล่ม" เป็นนัยถึงวังน้ำวนด้านหน้าป้อมเพชรนั่นเองป้อมเพชร เป็นป้อมใหญ่ก่อด้วยอิฐสลับกับศิลาแลง หนา 14 เมตร ลักษณะรูปทรงป้อมแบบหกเหลี่ยมยื่นออกไปจากแนวกำแพงเมือง มีช่องคูหา(เชิงเทิน) ก่อเป็นรูปโค้งครึ่งวงกลม ซึ่งเป็นที่ตั้งของปืนใหญ่ประจำป้อม จากบันทึกประวัติของชาวต่างชาติที่ไปเยือนกรุงศรีอยุธยา ณ เวลานั้น กล่าวไว้ว่ามีปืนใหญ่กว่า 800 กระบอกตั้งเรียงรายอยู่บนกำแพงเมือง เพื่อป้องกันข้าศึกที่จะมาทางน้ำ และเป็นท่าเรือสินค้าที่สำคัญในอดีต รวมทั้งเป็นย่านที่พักอาศัยของพ่อค้าชาวจีน ฮอลันดาและฝรั่งเศส นอกจากนี้ ยังแฝงไว้ซึ่งวิถีชีวิตของชาวกรุงศรีอยุธยา เนื่องจากพบร่องรอยการอยู่อาศัยมาตั้งแต่อยุธยาตอนต้น แม้อาณาจักรอยุธยา ราชธานีสยามที่ยาวนานเกือบสี่ศตวรรษ จะล่มสลายลง นับแต่คราวต้องเสียกรุงฯครั้งที่ 2 ให้แก่พม่า ตั้งแต่เมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ แต่ ป้อมเพชร ก็ยังทำหน้าที่เป็นด่านปราการสำคัญของเมืองพระนครอยู่ เมื่อก้าวเข้าสู่กรุงรัตนโกสินทร์ และในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุล "ณ ป้อมเพชร์" ให้แก่ "พระสมุทบุรานุรักษ์ (ขำ)" ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวรุณฤทธีศรีสมุทปราการ พระยาเพชร์ชฎา และ "พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)" ขณะประทับแรมที่อ่างศิลา พ.ศ. 2456 ด้วยบรรพบุรุษของพระสมุทฯ มีถิ่นฐานอยู่บริเวณป้อมเพชรดังกล่าว จึงนับเป็นต้นสกุลดังของบุคคลที่มีชื่อเสียงต่างๆ ในปัจจุบันที่เรารู้จักกันดี ไม่ว่าจะเป็น คุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร(อดีตภริยา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ท.พญ.พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ ภริยา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (หลานยายของนางอัมพา สุวรรณศร บุตรีพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (ขำ ณ ป้อมเพชร์)) และดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต เป็นต้น ปัจจุบัน ป้อมเพชร ได้รับการบูรณะจากกรมศิลปากร และยังคงสภาพสมบูรณ์อยู่เป็นส่วนใหญ่ หากยืนอยู่ที่ป้อมเพชรแล้วมองไปที่ฝั่งตรงข้าม ทางด้านซ้ายมือคือ วัดพนัญเชิงฯ ทางด้านซ้ายมือคือ วัดใหม่บางกะจะ ตั้งอยู่ใกล้กับ วัดสุวรรณดาราราม เป็น ป้อมปราการป้อมเดียวที่ยังเหลืออยู่จาก 16 ป้อม ตามแนวกรุงเก่า ในครั้งรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในโปรแกรมทัวร์ "บุกอยุธยา ค้นหาพระนเรศวร" รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-พม่า จะเป็นผู้นำทางเราอนุชนรุ่นหลัง เปิดประตูแห่งเวลาเดินทะลุข้ามมิติ สู่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา อันรุ่งเรืองในอดีตเมื่อหลายร้อยปีก่อน ผ่านป้อมเพชร ณ แห่งนี้ ฟังเรื่องเล่าที่ไม่เคยได้ยินจากที่ไหน รวมถึงยุทธศาสตร์ แผนการรบ และการป้องกันเมืองที่สำคัญ จากพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในการที่ทรงเลือกใช้ ป้อมเพชร ซึ่งถือเป็น 1 ใน 3 ป้อมสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่ตรงลำแม่น้ำ ในการรักษาพระนครทางด้านทิศใต้ นอกเหนือจากป้อมกบและป้อมมหาชัย เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึกอย่างพม่า อย่างเจาะลึกโดยละเอียด และยังได้ใกล้ชิดตัวเป็นๆ กับกูรูเรื่องไทย-พม่า และบุกไปตามสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับพระนเรศทั้งสิ้น
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!
From the time when the establishment of Ayutthaya as capital. In 1993.1893 city walls and fortresses Was created as a protective barrier around the island, enemy of Ayutthaya. At that time, first built a fort, all using wood structures. Later, in the reign of King Maha chakkraphat.The walls with bricks and laterite up
.The 29 fort built in the period. "ป้อมเพชร" is the most valuable and embrace the age science. With a border forts against the enemy invaders. In a corner of the city on the southeast within the island city.Where the river flow to coincide with the pasak fit. Cause the helical vortex large
.This point is used in land and foreign cargo ship brig It is a huge market that people in the past commonly called the floating of some shift, as the name appears ทางฝั่ง District opposite "district man crashes".
ป้อมเพชร is a big fortress brick interspersed with laterite thickness 14 meters form Fort six out of the line of the wall, there เหลี่ยมยื่น channel booths (rampart). Established as a semi-circular arch. Which is the location of the artillery of the fortress.At the time, said a bigger 800 cylinder lining on the city wall. To prevent the enemy to the water. A port and important products in the past. As well as district residents of Chinese merchants, Holland and France.Also carries the lifestyle of the Ayutthaya. Since found traces of living since the early Ayutthaya
.
even the Ayutthaya Kingdom Royal Siam nearly four centuries will fall down from time to time as the 2 maintenance to Myanmar since Tuesday. Up 9 night the moon in the year of the pig 5 falls on April 72310 in the reign of King พระเจ้าเอกทัศ, but ป้อมเพชร, also served as the forts of important city campus. When step into the Rattanakosin period and later King crown you King Rama, Rama 6His surname, "at ป้อมเพชร์" to the "conservation of oceans bura (laugh)", which later received the nobility. Phraya Varuna rithy Si mut forts, Phraya took Jada and "Phraya Chai Wichita wisit completely hidden (laugh at ป้อมเพชร์.)".B.Professor 2456 with fathers of oceans. The residents in the area ป้อมเพชร such. It is a family tree of famous people. At present we are well known as Khunying Pojaman Na pombejra (former wife of Lt.
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: