หลวงพ่อใหญ่วัดตาลวัดตาล ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์٭٭٭٭٭٭٭٭ translation - หลวงพ่อใหญ่วัดตาลวัดตาล ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์٭٭٭٭٭٭٭٭ Thai how to say

หลวงพ่อใหญ่วัดตาลวัดตาล ต.หล่มเก่า

หลวงพ่อใหญ่วัดตาล
วัดตาล ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭
ประวัติวัดตาล
วัดตาลตั้งอยู่เลขที่ 73 หมู่ที่ 3 ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ. เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ตั้งวัด เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 16 ตารางวา ตาม น.ส.4 จ .เลขที่ 14005 อาณาเขต.ทิศเหนือยาว 45 วา ติดต่อทางสาธารณะ ทิศใต้ยาว 45 วา ติดต่อกับหมู่บ้าน ทิศตะวันออก ยาว 40 วา ติดต่อกับซอยสาธารณะ ทิศตะวันตก ยาว 40 วา ติดต่อกับทางสาธารณะ มีที่ดินที่ธรณีสงฆ์ จำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 3 ตารางวา อยู่ริมหมู่บ้าน ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นทุ่งนามีเนื้อที่ 11 ไร่ ตาม นส. 4 จ. เลขที่ 32077
วัดนี้ได้รับวิสุงคามสีมาประมาณ พ.ศ.2403
ปัจจุบันวัดตาลมีพระภิกษุอยู่จำพรรษา 1 รูป สามเณร 2 รูป
อดีตเจ้าอาวาสภายหลังที่พอจะสืบทราบนามได้ได้แก่ ครูบาสิงห์, ครูบาหม, ครูบาคำ, ครูบาจันนา,พระมหาเกษม,
ครูบาศร, พระอธิการทองรักษ์สุทันฺโต,หลวงตาจันทร์แจ่ม
เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน คือพระครูสถิตพัชรธรรม พ.ศ.2538 –ปัจจุบัน
วัดตาล เดิมมีชื่อว่า “วัดตาลสราญรมณ์” แต่คนทั่วไปมักเรียกกันสั้นๆ
วัดตาล มี “หลวงพ่อใหญ่วัดตาล” เป็น พระพุทธรูปเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองหล่มเก่า สร้างด้วยปูนปั้น ปางมารวิชัย ศิลปลานช้าง ขนาดหน้าตักกว้าง 2.95 เมตร สูง 4.19 เมตร ประดิษฐานอยู่ภายในวิหาร ประชาชนทั่วไปตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันศรัทธาสักการะบูชาเป็นที่พึ่งด้านจิตใจ ต่างพากันมากราบขอพร ขอให้คุ้มครองรักษาอำนวยพรให้ครอบครัวลูกหลานของตนได้อยู่ดีมีสุข,ขอบนให้ขายที่ดินได้ง่าย เร็ว ราคาดี, ทำงาน, รับราชการ, ทำการค้า ให้มีความเจริญรุ่งเรือง, ขอบนให้ลูกของตนสามารถเข้าสอบเรียนต่อ เข้าทำงาน รับราชการ เลื่อนตำแหน่งหน้าที่การงานได้ ประสบผลที่ดี,ขอบนให้พ้นผิด ชนะคดีความในศาล,ขอบนมิให้ถูกติดเกณฑ์ทหาร, สาบานตนให้พ้นผิดเกี่ยวกับการลักขโมยสิ่งของ, กล่าวร้ายป้ายสีซึ่งกันและกัน แล้วมาแสดงความบริสุทธิ์,สาบานตนเลิก ลด ละยาเสพติดอื่นๆ
มีตำนานเล่าขานของชาวบ้านปากต่อปากจากรุ่นปู่ย่าตายายถ่ายทอด สู่ลูกสู่หลานสืบต่อๆกันมาถึงปัจจุบัน ได้เล่าเกี่ยวกับการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “มีพระเถระผู้ใหญ่เดินทางนั่งเรือมาจากทางใต้ ลงเรือที่ท่าน้ำหน้าวัด แล้วมานำพาประชาชนในละแวกนี้ พัฒนาวัดและได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่นี้ขึ้นมา วันที่นำพาช่างและประชาชน ปั้นแต่งพระเศียรพระพักตร์ของพระพุทธรูปนั้น ยังไม่ทันได้แต่งพระเศียร พระพักตร์ พระนาสิก พระเนตร ก็ได้เวลาพักเที่ยง พากันมาหุงหาอาหารกันที่ป่าไผ่ด้านตะวันออก (บริเวณต้นหางนกยุงปัจจุบัน) ขณะนั้น ได้พากันเห็นคนแก่นุ่งขาวห่มขาวเดินไป - เดินมาระหว่างบ่อน้ำ (บริเวณใต้ต้นจันทร์ เป็นบ่อน้ำที่สร้างขึ้นมา พร้อมกับการสร้างหลวงพ่อใหญ่ แต่ปรากฏไม่มีตาน้ำใหลออกมาเลย ปัจจุบันทางเทศบาลได้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่)กับพระพุทธรูปคือหลวงพ่อใหญ่วัดตาลที่กำลังได้รับการบูรณะในครั้งนั้น หลังจากที่รับประทานอาหารกันเรียบร้อยแล้ว ก็พากันมาจะปั้นแต่งพระพุทธรูปกันต่อ แต่ปรากฏว่า พระพักตร์ พระเศียรของพระพุทธรูปองค์ใหญ่นี้ ได้รับการปั้นแต่งพระพักตร์แล้วเสร็จบริบูรณ์งดงามแล้วและบ่อน้ำนั้นก็ปรากฏว่า มีน้ำผุดขึ้นมาพร้อมกับการปั้นแต่พระพักตร์ของหลวงพ่อใหญ่สำเร็จ)ก็เลยพากันเข้าใจว่าเทวดามาช่วยสร้าง (นางคำผัด ภักดีสาร ลูกหลานชาวบ้านวัดตาล) ย้อนหลังไปนับตั้งแต่พ.ศ.2516 ก่อนที่วิหารอันเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อใหญ่วัดตาลหลังเดิม จะถูกรื้อแล้วสร้างหลังใหม่ขึ้นมาแทนดังที่เห็นปัจจุบันนี้นั้น ภายในวิหารหลังเดิม มีศิลาจารึกอักขระภาษาไทยโบราณปรากฏอยู่ แต่ผู้เขียนไม่อาจสามารถจะอ่านจับใจความได้ เนื่องจากอยู่ในสภาพหักบิ่นอยู่ครึ่งหนึ่งแต่รุ่นปู่ย่าสมัยนั้นได้ยืนยันข้อความที่ปรากฏอยู่ในแผ่นศิลาจารึกทั้งหมดว่า“พระพุทธรูปหน้าตาขี้รี้วขี้เหล่องค์นี้ มิใช่องค์จริง เป็นเพียงองค์ครอบเท่านั้น องค์จริงตั้งอยู่ภายในทำด้วยทองสำริด” เรื่องนี้เท็จจริงอย่างไรก็ไม่อาจพิสูจน์ได้เนื่องจากเกรงบารมีองค์พระและมีคำขานกันมา สมัยผู้เขียนยังเด็กเล็กๆ ชาวบ้านวัดตาลและใกล้เคียงทั้งผู้ใหญ่และลูกหลานกล่าวขานกันมา
ว่า “หินกลี้งเป็นที่ตั้งของทหาร วัดตาลเป็นวัดสาบาน” (วัดบ้านหินกลิ้งหรือวัดศรีมงคลบ้านหินกลี้งปัจจุบัน ห่างขึ้นไปทางทิศเหนือ ประมาณครึ่งกิโลเมตร (พระครูสถิตพัชรธรรม)
นายดิเรก ถึงฝั่ง อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ คนที่ 36 1 กันยายน 2546 ) สืบค้นประวัติเมืองเพชรบูรณ์และพ่อขุนผาเมือง เขียนเป็นหนังสือชื่อ “พ่อขุนผาเมือง วีรกษัตริย์นอกประวัติศาสตร์เมืองราด-เพชรบูรณ์”ไว้ ใจความตอนหนึ่งว่า “ตามประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองหล่มสัก เมืองหล่มเก่า เล่าขานตกทอดกันว่า พ่อขุนผาเมืองนั้น มีพระชายาที่เป็นคนไทยอยู่ที่เมืองหล่มเก่าองค์หนึ่งชื่อ “พระนางเนาวรงค์เทวี” เป็นลูกพ่อเมืองหล่มเก่า (เมืองล่ม) เมืองเล็กๆ เมืองหนึ่งที่อยู่ในการดูแลของเมืองราด พระนางเนาวรงค์เทวีนั้นอยู่ที่วังตาล ปัจจุบันคือบริเวณวัดตาล เขตอำเภอหล่มเก่า นักประวัติศาสตร์บางคนระบุว่า พระชายาคนไทยของพ่อขุนผาเมืองชื่อ “พระนางปัทมาเทวี” เป็นราชวงค์สุโขทัย ซึ่งผิดข้อเท็จจริง กล่าวคือพ่อขุนผาเมืองออกจากกรุงสุโขทัยมาเป็นเวลานาน รบทัพจับศึกมาตลอดจนยึดนครเดิดได้ และไปสร้างเมืองใหม่ขึ้นคือ เมืองราด ช่วงนั้นพ่อขุนผาเมืองไม่ได้กลับกรุงสุโขทัย เพราะอยู่ระหว่างสร้างเมืองราดให้เข้มแข็ง ดังนั้น การที่จะไปมีพระชายาที่สุโขทัยและนำมาไว้ที่วังตาล เมืองหล่มเก่า (เมืองล่ม) นั้นจึงไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏ
ที่วัดตาล อำเภอหล่มเก่าปัจจุบันมีศาลาของพระนางเนาวรงค์เทวีอยู่ในวัด ชาวบ้านเรียกว่า ศาลาแม่เข็มทองกับพ่อขุนผาเมือง เข็มทองเป็นชื่อเดิมของพระนางเนาวรงค์เทวี และมีศาลเก่าๆของแม่เข็มทองอยู่ 1 แห่ง “ตำนานเมืองหล่มเก่าที่เกี่ยวข้องกับแม่เข็มทอง เล่ากันว่า พระนางเนาวรงค์เทวีเป็นผู้กล้าหาญ เฉลียวฉลาด และร่วมออกรบกับพ่อขุนผาเมือง เมื่อครั้งเข้าตีกรุงสุโขทัยคืนจากขอมสบาดโขลญลำพงด้วยพระนางจึงเป็นที่รักของพ่อขุนผาเมืองยิ่งนัก
ท่านได้เขียนหนังพ่อขุนผาเมือง เพื่อเป็นหลักฐานเชื่อมโยงประวัติศาสตร์ของพ่อขุนผาเมืองให้เป็นเรื่องราวไปในทางเดียวกัน และได้สร้างอนุสรณ์สถานเมืองราด ก็คือ บ้
0/5000
From: -
To: -
Results (Thai) 1: [Copy]
Copied!
หลวงพ่อใหญ่วัดตาลวัดตาล ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭٭ประวัติวัดตาลวัดตาลตั้งอยู่เลขที่ 73 หมู่ที่ 3 ต.หล่มเก่า อ.หล่มเก่า จ. เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ตั้งวัด เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 16 ตารางวา ตาม น.ส.4 จ .เลขที่ 14005 อาณาเขต.ทิศเหนือยาว 45 วา ติดต่อทางสาธารณะ ทิศใต้ยาว 45 วา ติดต่อกับหมู่บ้าน ทิศตะวันออก ยาว 40 วา ติดต่อกับซอยสาธารณะ ทิศตะวันตก ยาว 40 วา ติดต่อกับทางสาธารณะ มีที่ดินที่ธรณีสงฆ์ จำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 3 ตารางวา อยู่ริมหมู่บ้าน ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นทุ่งนามีเนื้อที่ 11 ไร่ ตาม นส. 4 จ. เลขที่ 32077 วัดนี้ได้รับวิสุงคามสีมาประมาณ พ.ศ.2403 ปัจจุบันวัดตาลมีพระภิกษุอยู่จำพรรษา 1 รูป สามเณร 2 รูป อดีตเจ้าอาวาสภายหลังที่พอจะสืบทราบนามได้ได้แก่ ครูบาสิงห์, ครูบาหม, ครูบาคำ, ครูบาจันนา,พระมหาเกษม,ครูบาศร, พระอธิการทองรักษ์สุทันฺโต,หลวงตาจันทร์แจ่มเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน คือพระครูสถิตพัชรธรรม พ.ศ.2538 –ปัจจุบันวัดตาล เดิมมีชื่อว่า “วัดตาลสราญรมณ์” แต่คนทั่วไปมักเรียกกันสั้นๆวัดตาล มี “หลวงพ่อใหญ่วัดตาล” เป็น พระพุทธรูปเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองหล่มเก่า สร้างด้วยปูนปั้น ปางมารวิชัย ศิลปลานช้าง ขนาดหน้าตักกว้าง 2.95 เมตร สูง 4.19 เมตร ประดิษฐานอยู่ภายในวิหาร ประชาชนทั่วไปตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันศรัทธาสักการะบูชาเป็นที่พึ่งด้านจิตใจ ต่างพากันมากราบขอพร ขอให้คุ้มครองรักษาอำนวยพรให้ครอบครัวลูกหลานของตนได้อยู่ดีมีสุข,ขอบนให้ขายที่ดินได้ง่าย เร็ว ราคาดี, ทำงาน, รับราชการ, ทำการค้า ให้มีความเจริญรุ่งเรือง, ขอบนให้ลูกของตนสามารถเข้าสอบเรียนต่อ เข้าทำงาน รับราชการ เลื่อนตำแหน่งหน้าที่การงานได้ ประสบผลที่ดี,ขอบนให้พ้นผิด ชนะคดีความในศาล,ขอบนมิให้ถูกติดเกณฑ์ทหาร, สาบานตนให้พ้นผิดเกี่ยวกับการลักขโมยสิ่งของ, กล่าวร้ายป้ายสีซึ่งกันและกัน แล้วมาแสดงความบริสุทธิ์,สาบานตนเลิก ลด ละยาเสพติดอื่นๆมีตำนานเล่าขานของชาวบ้านปากต่อปากจากรุ่นปู่ย่าตายายถ่ายทอด สู่ลูกสู่หลานสืบต่อๆกันมาถึงปัจจุบัน ได้เล่าเกี่ยวกับการสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “มีพระเถระผู้ใหญ่เดินทางนั่งเรือมาจากทางใต้ ลงเรือที่ท่าน้ำหน้าวัด แล้วมานำพาประชาชนในละแวกนี้ พัฒนาวัดและได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่นี้ขึ้นมา วันที่นำพาช่างและประชาชน ปั้นแต่งพระเศียรพระพักตร์ของพระพุทธรูปนั้น ยังไม่ทันได้แต่งพระเศียร พระพักตร์ พระนาสิก พระเนตร ก็ได้เวลาพักเที่ยง พากันมาหุงหาอาหารกันที่ป่าไผ่ด้านตะวันออก (บริเวณต้นหางนกยุงปัจจุบัน) ขณะนั้น ได้พากันเห็นคนแก่นุ่งขาวห่มขาวเดินไป - เดินมาระหว่างบ่อน้ำ (บริเวณใต้ต้นจันทร์ เป็นบ่อน้ำที่สร้างขึ้นมา พร้อมกับการสร้างหลวงพ่อใหญ่ แต่ปรากฏไม่มีตาน้ำใหลออกมาเลย ปัจจุบันทางเทศบาลได้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่)กับพระพุทธรูปคือหลวงพ่อใหญ่วัดตาลที่กำลังได้รับการบูรณะในครั้งนั้น หลังจากที่รับประทานอาหารกันเรียบร้อยแล้ว ก็พากันมาจะปั้นแต่งพระพุทธรูปกันต่อ แต่ปรากฏว่า พระพักตร์ พระเศียรของพระพุทธรูปองค์ใหญ่นี้ ได้รับการปั้นแต่งพระพักตร์แล้วเสร็จบริบูรณ์งดงามแล้วและบ่อน้ำนั้นก็ปรากฏว่า มีน้ำผุดขึ้นมาพร้อมกับการปั้นแต่พระพักตร์ของหลวงพ่อใหญ่สำเร็จ)ก็เลยพากันเข้าใจว่าเทวดามาช่วยสร้าง (นางคำผัด ภักดีสาร ลูกหลานชาวบ้านวัดตาล) ย้อนหลังไปนับตั้งแต่พ.ศ.2516 ก่อนที่วิหารอันเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อใหญ่วัดตาลหลังเดิม จะถูกรื้อแล้วสร้างหลังใหม่ขึ้นมาแทนดังที่เห็นปัจจุบันนี้นั้น ภายในวิหารหลังเดิม มีศิลาจารึกอักขระภาษาไทยโบราณปรากฏอยู่ แต่ผู้เขียนไม่อาจสามารถจะอ่านจับใจความได้ เนื่องจากอยู่ในสภาพหักบิ่นอยู่ครึ่งหนึ่งแต่รุ่นปู่ย่าสมัยนั้นได้ยืนยันข้อความที่ปรากฏอยู่ในแผ่นศิลาจารึกทั้งหมดว่า“พระพุทธรูปหน้าตาขี้รี้วขี้เหล่องค์นี้ มิใช่องค์จริง เป็นเพียงองค์ครอบเท่านั้น องค์จริงตั้งอยู่ภายในทำด้วยทองสำริด” เรื่องนี้เท็จจริงอย่างไรก็ไม่อาจพิสูจน์ได้เนื่องจากเกรงบารมีองค์พระและมีคำขานกันมา สมัยผู้เขียนยังเด็กเล็กๆ ชาวบ้านวัดตาลและใกล้เคียงทั้งผู้ใหญ่และลูกหลานกล่าวขานกันมาว่า “หินกลี้งเป็นที่ตั้งของทหาร วัดตาลเป็นวัดสาบาน” (วัดบ้านหินกลิ้งหรือวัดศรีมงคลบ้านหินกลี้งปัจจุบัน ห่างขึ้นไปทางทิศเหนือ ประมาณครึ่งกิโลเมตร (พระครูสถิตพัชรธรรม) นายดิเรก ถึงฝั่ง อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์ คนที่ 36 1 กันยายน 2546 ) สืบค้นประวัติเมืองเพชรบูรณ์และพ่อขุนผาเมือง เขียนเป็นหนังสือชื่อ “พ่อขุนผาเมือง วีรกษัตริย์นอกประวัติศาสตร์เมืองราด-เพชรบูรณ์”ไว้ ใจความตอนหนึ่งว่า “ตามประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองหล่มสัก เมืองหล่มเก่า เล่าขานตกทอดกันว่า พ่อขุนผาเมืองนั้น มีพระชายาที่เป็นคนไทยอยู่ที่เมืองหล่มเก่าองค์หนึ่งชื่อ “พระนางเนาวรงค์เทวี” เป็นลูกพ่อเมืองหล่มเก่า (เมืองล่ม) เมืองเล็กๆ เมืองหนึ่งที่อยู่ในการดูแลของเมืองราด พระนางเนาวรงค์เทวีนั้นอยู่ที่วังตาล ปัจจุบันคือบริเวณวัดตาล เขตอำเภอหล่มเก่า นักประวัติศาสตร์บางคนระบุว่า พระชายาคนไทยของพ่อขุนผาเมืองชื่อ “พระนางปัทมาเทวี” เป็นราชวงค์สุโขทัย ซึ่งผิดข้อเท็จจริง กล่าวคือพ่อขุนผาเมืองออกจากกรุงสุโขทัยมาเป็นเวลานาน รบทัพจับศึกมาตลอดจนยึดนครเดิดได้ และไปสร้างเมืองใหม่ขึ้นคือ เมืองราด ช่วงนั้นพ่อขุนผาเมืองไม่ได้กลับกรุงสุโขทัย เพราะอยู่ระหว่างสร้างเมืองราดให้เข้มแข็ง ดังนั้น การที่จะไปมีพระชายาที่สุโขทัยและนำมาไว้ที่วังตาล เมืองหล่มเก่า (เมืองล่ม) นั้นจึงไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏที่วัดตาล อำเภอหล่มเก่าปัจจุบันมีศาลาของพระนางเนาวรงค์เทวีอยู่ในวัด ชาวบ้านเรียกว่า ศาลาแม่เข็มทองกับพ่อขุนผาเมือง เข็มทองเป็นชื่อเดิมของพระนางเนาวรงค์เทวี และมีศาลเก่าๆของแม่เข็มทองอยู่ 1 แห่ง “ตำนานเมืองหล่มเก่าที่เกี่ยวข้องกับแม่เข็มทอง เล่ากันว่า พระนางเนาวรงค์เทวีเป็นผู้กล้าหาญ เฉลียวฉลาด และร่วมออกรบกับพ่อขุนผาเมือง เมื่อครั้งเข้าตีกรุงสุโขทัยคืนจากขอมสบาดโขลญลำพงด้วยพระนางจึงเป็นที่รักของพ่อขุนผาเมืองยิ่งนักท่านได้เขียนหนังพ่อขุนผาเมือง เพื่อเป็นหลักฐานเชื่อมโยงประวัติศาสตร์ของพ่อขุนผาเมืองให้เป็นเรื่องราวไปในทางเดียวกัน และได้สร้างอนุสรณ์สถานเมืองราด ก็คือ บ้
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: