การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการทำงานเป็นทีม translation - การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการทำงานเป็นทีม English how to say

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร และศึกษาพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด โดยมีสมมติฐานคือ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการมีค่าความสัมพันธ์ที่เป็นบวกต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 130 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้คือแบบสอบถามซึ่งมี 2 ส่วนคือ 1.แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร 2.แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการกรุงเทพมหานคร และนำแบบสอบถามทั้งหมดมาวิเคราะห์และประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences for Windows) วิเคราะห์ด้วยสถิติแบบบรรยาย คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และหาค่าความสัมพันธ์โดยค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
ผลสรุปการวิจัย จะแบ่งเป็นสองส่วน คือ 1.พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร 2.ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณธ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร สรุปได้ว่า ส่วนใหญ่พนักงาน คือ เพศหญิง จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 59.00 ส่วนใหญ่อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 88.00 ส่วนใหญ่ คือ การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จำนวน 44 คน หรือคิดเป็นร้อย 44.00 ผลการวิจัยควมพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร สรุปได้ว่า ส่วนใหญ่ คือ เพศหญิง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 21.00 ส่วนใหญ่ คือ อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ส่วนใหญ่ คือ มีสถานภาพโสด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 24.00 จากการหาค่าความสัมพันธ์พบได้ว่า พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร
จากสมมติฐานพบว่า พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กับควยามพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร ทดสอบสมมติฐาน โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) การคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน พบว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการมีค่าความสัมพันธ์ที่เป็นบวกต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อยู่ที่ .05 หรือค่ามีความหมายว่า มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับน้อย ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
0/5000
From: -
To: -
Results (English) 1: [Copy]
Copied!
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาทัศนคติที่มีต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร และศึกษาพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด โดยมีสมมติฐานคือ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการมีค่าความสัมพันธ์ที่เป็นบวกต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 130 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้คือแบบสอบถามซึ่งมี 2 ส่วนคือ 1.แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร 2.แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการกรุงเทพมหานคร และนำแบบสอบถามทั้งหมดมาวิเคราะห์และประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences for Windows) วิเคราะห์ด้วยสถิติแบบบรรยาย คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และหาค่าความสัมพันธ์โดยค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ผลสรุปการวิจัย จะแบ่งเป็นสองส่วน คือ 1.พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร 2.ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณธ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร สรุปได้ว่า ส่วนใหญ่พนักงาน คือ เพศหญิง จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 59.00 ส่วนใหญ่อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป จำนวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 88.00 ส่วนใหญ่ คือ การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จำนวน 44 คน หรือคิดเป็นร้อย 44.00 ผลการวิจัยควมพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร สรุปได้ว่า ส่วนใหญ่ คือ เพศหญิง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 21.00 ส่วนใหญ่ คือ อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 15.00 ส่วนใหญ่ คือ มีสถานภาพโสด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 24.00 จากการหาค่าความสัมพันธ์พบได้ว่า พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร จากสมมติฐานพบว่า พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กับควยามพึงพอใจของผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร ทดสอบสมมติฐาน โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) การคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน พบว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการมีค่าความสัมพันธ์ที่เป็นบวกต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด กรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อยู่ที่ .05 หรือค่ามีความหมายว่า มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับน้อย ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
Being translated, please wait..
Results (English) 2:[Copy]
Copied!
This research aims. Attitudes toward teamwork of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok And study the behavior of a team of museum staff palace garden lettuce. The hypothesis is User satisfaction with the relationship that is positive for the teamwork of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok Researchers used random sampling methods accident (Accidental Sampling), with a sample of 130 was used to collect data for this survey, which has two parts: 1. teamwork behaviors of the Palace Museum. Suanpakkad Bangkok 2. satisfaction of users of Bangkok. And all queries were analyzed and processed by a computer. By using the software SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences for Windows) analyzed with a statistical model to describe the frequency (Frequency), percentage (Percentage) Average (Mean) and standard deviation (Standard Deviation) and find out. the relationship with the coefficient of correlation of Pearson (Pearson's Product Moment Correlation Coefficient) determine the statistical significance level of .05.
The results of the research. It is divided into two sections: 1. behavior teamwork of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok 2. satisfaction of users of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok The research team is working behavior of employees Palace Museum Wales lettuce. Bangkok concluded that most of the employees are female, 59 per cent 59.00, mostly aged from 30 years to 88 per cent 88.00 Most of the studies in the bachelor's degree or the equivalent of 44 people. representing 44.00 findings drug user satisfaction Palace Museum lettuce. Bangkok concluded that most of the women were 21 per cent 21.00 is mostly aged from 30 years up to the number 15, representing a 15.00 percent majority is a single number, 24 per cent 24.00 from. It found that the correlation. Teamwork behavior of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok Correlated with the satisfaction of users of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok
from the assumption that Teamwork behavior of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok The guard had a relationship with satisfaction of users of the Palace Museum garden lettuce. Bangkok Hypothesis By finding the correlation Pearson (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) for calculating the correlation coefficient, Pearson found that satisfaction of service users have the relationship that is positive to work as a team. Museum employees palace garden lettuce Bangkok Statistical significance was. 05 or the meaning. Relations are at a low level. Which, according to the hypothesis.
Being translated, please wait..
Results (English) 3:[Copy]
Copied!
Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?Take a bath?
Being translated, please wait..
 
Other languages
The translation tool support: Afrikaans, Albanian, Amharic, Arabic, Armenian, Azerbaijani, Basque, Belarusian, Bengali, Bosnian, Bulgarian, Catalan, Cebuano, Chichewa, Chinese, Chinese Traditional, Corsican, Croatian, Czech, Danish, Detect language, Dutch, English, Esperanto, Estonian, Filipino, Finnish, French, Frisian, Galician, Georgian, German, Greek, Gujarati, Haitian Creole, Hausa, Hawaiian, Hebrew, Hindi, Hmong, Hungarian, Icelandic, Igbo, Indonesian, Irish, Italian, Japanese, Javanese, Kannada, Kazakh, Khmer, Kinyarwanda, Klingon, Korean, Kurdish (Kurmanji), Kyrgyz, Lao, Latin, Latvian, Lithuanian, Luxembourgish, Macedonian, Malagasy, Malay, Malayalam, Maltese, Maori, Marathi, Mongolian, Myanmar (Burmese), Nepali, Norwegian, Odia (Oriya), Pashto, Persian, Polish, Portuguese, Punjabi, Romanian, Russian, Samoan, Scots Gaelic, Serbian, Sesotho, Shona, Sindhi, Sinhala, Slovak, Slovenian, Somali, Spanish, Sundanese, Swahili, Swedish, Tajik, Tamil, Tatar, Telugu, Thai, Turkish, Turkmen, Ukrainian, Urdu, Uyghur, Uzbek, Vietnamese, Welsh, Xhosa, Yiddish, Yoruba, Zulu, Language translation.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: